บทนำ ปัจจุบันประเทศไทยเป็นสังคมผู้สูงอายุ การได้ข้อมูลพื้นฐานของผู้สูงอายุจึงเป็นเรื่องสาคัญที่จะนาไปใช้ประโยชน์ต่อๆ ไป งานวิจัยนี้มีรูปแบบเป็นภาคตัดขวาง
วัตถุประสงค์ วิเคราะห์สถานะสุขภาพและความต้องการด้านสุขภาพของผู้สูงอายุ และหาความสัมพันธ์ของปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพของผู้สูงอายุ
วิธีดำเนินการ ติอต่อเทศบาลเมืองคูคต ขอรายชื่อและที่อยู่ของผู้สูงอายุที่รับเบี้ยยังชีพ สุ่มตัวอย่างแบบเป็นระบบ เท่าที่คานวณขนาดตัวอย่าง เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ตามแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น และSF-36 วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
ผลกำรวิจัย สัมภาษณ์ผู้สูงอายุได้ 826 คน ส่วนมากเป็นเพศหญิงร้อยละ 62.2 อายุเฉลี่ย 70 ปี ป่วยมีโรคประจาตัวเกือบร้อยละ 80 เคยตก/ หกล้มเกือบ 1 ใน 3 พฤติกรรมสุขภาพส่วนมากนอนกลางวัน หลับง่ายหลับสบายดี ขับถ่ายปกติ ออกกาลังกายร้อยละ 62.3 สูบบุหรี่ร้อยละ 7.4 ดื่มแอลกอฮอล์ร้อยละ 8 กลุ่มที่ช่วยเหลือตัวเองได้ : ต้องการความช่วยเหลือบ้าง : จาเป็นต้องได้รับความช่วยเหลือ ร้อยละ 93.1 : 3.8 : 3.1ด้านจิตใจ ส่วนมากมีความวิตก กังวล เครียด เล็กน้อย ร้อยละ 39 ด้านครอบครัว สมาชิกในครอบครัวมี 3 คน บ้านสองชั้นนอนชั้นบน ส้วมชักโครก พื้นห้องน้าไม่ลื่น ด้านชุมชน ส่วนมากเข้าร่วมบางกิจกรรม มีความต้องการเข้าร่วมกิจกรรม ผลของ SF—36 ผู้สูงอายุตอบว่าสุขภาพดี พอใช้ ดีมาก ไม่ดี ดีเลิศ (ร้อยละ 41.4, 38.1, 9.1, 6.5 และ 0.5) ตามลาดับ ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพของผู้สูงอายุอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ได้แก่ พฤติกรรม การออกกาลังกาย (P-value 0.000) การใส่เครื่องปรุงรสในอาหาร (P-value 0.001) และมีความวิตก กังวล เครียด (P-value 0.000)
ข้อเสนอแนะ ควรมีการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อให้เห็นบริบทของชุมชน
Introduction Thailand currently is an aging society. To get basic information of senior
citizens, therefore, is important for future benefits. The present research had a crosssectional
study design.
Objectives To analyze health status and health needs of the elderly and to determine
association of factors that affect the health of the elderly
Methods Request Khukhot Municipality for the names and the addresses of the elderly on
allowances, systemiatic random sampling for the calculated sample size, data collection
using interviews based on a presently designed questionnaire and SF-36, and quantitative
data analysis
Results The interviews engaged 826 elderly people, mostly female (62.2 percent), at the
average age of 70 years with nearly 80 percent having comorbidities and almost one in
three having been through fall incidents. As regards health behaviours, most of them took
daytime naps, slept easily and well, had normal bowel movements. Some of the subjects
exercised (62.3 percent), smoked (7.4 percent) and drank alcohol (8 percent). Active-aging :
need-a-little-help : need-help subjects were in the ratio of 93.1 : 3.8 : 3.1 percent. In
psychological aspect, the largest portion of them was a little anxious and stressed (39
percent). In terms of families, there were roughly three members in each family, living in a
two-storey house with the upper storey being where they slept and with flush-type toilet
with non-slippery bathroom floor. As regards community, most willingly participated in
some activities. SF-36 results: the seniors responded that they were in good, good-enough,
great, poor and excellent health (41.4, 38.1, 9.1, 6.5 and 0.5 percent, respectively). Factors
statistically significantly affecting the health of the elderly were exercise behaviours (P-value
0.000), food seasonings (P-value 0.001), and anxiety and stress (P-value 0.000).
Suggestion Qualitative research should be conducted to reflect the community context.
# | File | File size | Downloads |
---|---|---|---|
1 | 1.7สถานะสุขภาพและความต้องการด้านสุขภาพของผู้สูงอายุ-ปทุมธานี | 5 MB | 142 |
© สงวนลิขสิทธิ์ 2022 สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)