ประเทศไทยกำลังเป็นสังคมผู้สูงอำยุ ปัญหำสุขภำพหลักของผู้สูงอำยุคือโรคไม่ติดต่อเรื้อรังรวมถึงโรคมะเร็ง
ประเทศไทยได้แบ่งผู้สูงอำยุออกเป็น 3 กลุ่มหลักๆ ตำมควำมสำมำรถในกำรประกอบชีวิตประจำวันคือกลุ่มติดเตียง
กลุ่มติดบ้ำนและกลุ่มติดสังคม เป้ำหมำยหลักของกำรดูแลสุขภำพผู้สูงอำยุคือกำรลดโอกำสกำรเปลี่ยนสถำนะจำก
ผู้สูงอำยุที่ติดสังคมเป็นผู้สูงอำยุที่ติดบ้ำนและติดเตียงในที่สุด ซึ่งจะช่วยให้รัฐบำลประหยัดค่ำใช้จ่ำยในกำรดูแลสขุ ภำพ
ของผู้สูงอำยุที่ติดบ้ำนและติดเตียงได้ กลยุทธหลักในกำรพัฒนำสุขภำพผู้สูงอำยุประกอบไปด้วย กำรให้ผู้สูงอำยุกลับ
เข้ำมำเป็นส่วนหนึ่งของสังคม กำรดูแลสุขภำพของผู้สูงอำยุให้แข็งแรงเพื่อลดอัตรำกำรเจ็บป่วยที่ไม่จำเป็น และกำร
ให้ผู้สูงอำยุมีควำมมั่นคงทำงกำรเงิน กำรศึกษำวิจัยชิ้นนี้มุ่งเน้นกำรส่งเสริมสุขภำพผู้สูงอำยุผ่ำนกลไกหลักในชุมชน
คืออำสำสมัครสำธำรณสุขประจำหมู่บ้ำน (อสม.) โดยอำศัยหลักกำรเสริมสร้ำงชุมชนเข้มแข็ง ซึ่งเป็นหนึ่งในห้ำ
กลยุทธของกฎบัตรออตตำวำเพื่อกำรส่งเสริมสุขภำพ ในกำรศึกษำวิจัยนี้ ได้ประยุกต์ใช้แบบจำลองสร้ำงเสริมสุขภำพ
แบบคู่ขนำนเพื่อเสริมสร้ำงควำมเข้มแข็งของชุมชนร่วมกับกลุ่ม อสม. 2 ชุมชน (17 และ 13 คน) เป็นระยะเวลำ
ประมำณ 4 เดือน ทั้งนี้ อสม. ทั้ง 2 ชุมชนทำงำนแยกกันตลอดทั้งกำรศึกษำวิจัย โดยเริ่มจำกกำรให้ควำมหมำยของ
คำว่ำชุมชนเข้มแข็ง จำกนั้นจึงประเมินควำมเข้มแข็งของชุมชนใน 9 หมวดหมู่โดยใช้ Thai-version
empowerment assessment rating scales ผ่ำนกำรประชุมเชิงปฏิบัติกำร กลุ่ม อสม. นำผลกำรประเมินมำใช้
ในกำรวำงแผนเพื่อพัฒนำควำมเข้มแข็งของชุมชนในกำรดูแลสุขภำพผู้สูงอำยุ ก่อนสิ้นสุดโครงกำรกลุ่ม อสม.
ประเมินควำมเข้มแข็งของชุมชนอีกครั้ง และเข้ำร่วมกำรสัมภำษณ์กลุ่มเพื่อถอดบทเรียน ผลกำรศึกษำพบว่ำระดับ
ควำมเข้มแข็งของชุมชนครั้งที่ 1 ทั้ง 2 ชุมชนมีควำมคล้ำยคลึงกัน คือสูงในหมวดหมู่ผู้นำ โครงสร้ำงองค์กร กำร
จัดกำรทรัพยำกร หน่วยงำนภำยนอก ตัวแทนภำยนอกและกำรดำเนินโครงกำร อสม. ทั้ง 2 ชุมชนประเมินกำรมี
ส่วนร่วมและกำรวิเครำะห์ปัญหำในระดับต่ำ อสม. ทั้ง 2 ชุมชนวำงแผนพัฒนำควำมเข้มแข็ง แต่ไม่ได้ดำเนินกำร
ตำมที่วำงแผนไว้ด้วยเหตุผลที่แตกต่ำงกัน กำรประเมินผลครั้งที่ 2 พบว่ำระดับควำมเข้มแข็งในหมวดหมู่โครงสร้ำง
องค์กร กำรประเมินปัญหำ หน่วยงำนภำยนอก ตัวแทนภำยนอกและกำรดำเนินโครงกำรต่ำลงทั้ง 2 ชุมชน กำร
จัดกำรทรัพยำกรที่ต่ำลงในชุมชนที่ 2 ปัจจัยหลักที่ทำให้คะแนนต่ำลงคือกำรมองเห็นรูปแบบกำรทำงำนที่ต่ำงไปจำก
เดิมกล่ำวคือกำรเห็นว่ำ อสม. ทำงำนแบบบนลงล่ำงภำยใต้กำรกำกับดูแลของเทศบำล ซึ่งแตกต่ำงจำกครั้งที่ 1 ที่
มองเห็นว่ำ อสม. ดำเนินกำรเป็นอิสระและได้รับกำรสนับสนุนจำกเทศบำล ผลที่เกิดขึ้นจำกกำรศึกษำวิจัยชิ้นนี้ คือ
กำรเยี่ยมบ้ำนร่วมกับบุคลำกรสุขภำพของกลุ่ม อสม. ชุมชนที่ 1 และกำรจัดกำรข้อมูลสุขภำพระดับชุมชนของกลุ่ม
อสม. ชุมชนที่ 2 ผลกำรศึกษำพบว่ำกำรประยุกต์ใช้แบบจำลองกำรสร้ำงเสริมสุขภำพแบบคู่ขนำนเป็นไปได้ใน
บริบทของ อสม. ในเขตเทศบำลเมือง ในประเด็นกำรดูแลผู้สูงอำยุ แต่จำเป็นต้องมีระยะเวลำกำรดำเนินโครงกำรที่
นำนกว่ำนี้ กำรนำไปประยุกต์ใช้กับชุมชนอื่นๆ หรือประเด็นอื่นๆ จำเป็นต้องดูบริบทของชุมชนและควำมเหมำ ะสม
ในกำรดำเนินโครงกำร กำรศึกษำวิจัยชิ้นนี้นำเสนอควำมท้ำทำยในกำรทำงำนของ อสม. เขตเทศบำลเมืองในกำร
ดูแลสุขภำพผู้สูงอำยุและแนวทำงต่อควำมท้ำทำยนั้นๆ ต่อกำรดูแลสุขภำพของผู้สูงอำยุโดย อสม.
Thailand is an ageing society. The major health problems among older people are noncommunicable
diseases and cancer. Thailand categorizes older people into three groups according to
activities of daily living: bed-bound, home-bound and well elders. An aim is to decrease a chance of change
from a better group to a worse group such as from a well elder group to a bed-bound group, which will
reduce health care cost. Three strategies in improving health of older people and preventing them to
become home-bound and bed-bound are social integration of older people, improve health of older
people and create financial security among older people. This study applied the first strategy to promote
health of older people through community organization that is village health volunteers. The strategy
complied with community empowerment as one of action plan in the Ottawa Charter. This study
specifically applied a parallel track model for health promotion with village health volunteers (VHV) in two
communities (number of VHVs are 17 and 13) in a four-month timeframe. Both communities worked
separately. VHVs defined community empowerment in their own perspective prior to assessment of
community empowerment with a workshop approach using Thai-version empowerment assessment rating
scales. A result from the assessment was used for the VHVs to plan for improvement. The VHVs assessed
community empowerment at the end of the study. Focus group discussions were conducted to describe
lessons learned. The first assessment of two communities were similar. Community empowerment
domains were ranked high in leadership, organizational structure, resource mobilization, links, outside
agents and program management. Participation and asking “why” were ranked lowest in both
communities. After the first assessment, both communities planned for improvement but did not take
action according to the plans. The second assessment showed levels of community empowerment
decreased in organizational structure, problem assessment, links, outside agents and program
management. The main reason was a change of VHVs’ perspective on relationship between them and a
municipality. In the first assessment, they perceived that they independently worked in the communities
and that the municipality provided essential supports to them. In the second assessment, they perceived
that they worked under the municipality in a top-down fashion. This study found that the parallel track
model is feasible and appropriate to VHVs in community regarding health of older people. Application of
the model in other similar communities and other health issues needs to take into consideration context
of those communities. This study found challenges of VHVs’ work in an urban municipality and provided
some suggestions that may strengthen VHVs in caring older people in a community.
# | File | File size | Downloads |
---|---|---|---|
1 | 4.2การประยุกต์ใช้แบบจำลองการสร้างเสริมสุขภาพแบบคู่ขนาน-เพื่อการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ | 1 MB | 68 |
© สงวนลิขสิทธิ์ 2022 สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)