การพัฒนาเมืองน่าอยู่สำหรับผู้สูงอายุ

การพัฒนาเมืองน่าอยู่สำหรับผู้สูงอายุ

The Development of Age Friendly City

บทคัดย่อ

งานวิจัยด้านการออกแบบ ปรับปรุงที่อยู่อาศัยและพื้นที่ส่วนกลางสาหรับผู้สูงอายุ มีผู้ทาการศึกษาอยู่
จานวนมาก แต่พบว่างานวิจัยที่ดาเนินการในกรุงเทพมหานครในเรื่องนี้ยังมีน้อยและยังขาดต้นแบบที่เป็น
รูปธรรมในการปรับปรุง การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้เกิดกระบวนการสร้างความร่วมมือ การมีส่วน
ร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการวางแผน การสร้างกระบวนการ และเพื่อทาให้เกิดแนวทางการสร้าง
และส่งเสริมระบบการจูงใจให้หน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน ได้ร่วมมือสนับสนุนดาเนินการพัฒนา
พื้นที่สาธารณะสาหรับผู้สูงอายุ อย่างต่อเนื่อง รวมถึงการสร้างต้นแบบหรือมาตรฐาน สร้างองค์ความรู้ เผยแพร่
ความรู้และแนวทางปฏิบัติสาหรับเจ้าหน้าที่รัฐ ภาคเอกชน และผู้ที่เกี่ยวข้องในไปใช้ในการวางแผน การ
ออกแบบและการก่อสร้างอาคาร สถานที่ตลอดจนสภาพแวดล้อมทางกายภาพและภูมิทัศน์ ตลอดจนที่อยู่
อาศัยเพื่อให้เหมาะสมกับผู้ใช้งานทุกสถานะ ทุกวัย
สาหรับกระบวนการวิจัยได้คัดเลือกพื้นที่ศึกษา คือชุมชนคลองพลับพลา เขตวังทองหลาง ซึ่งเป็นพื้นที่
ของสานักงานทรัพย์สินพระมหากษัตริย์ ดาเนินการคัดเลือก ประชาคมและเก็บข้อมูลที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ
เป้าหมายเพื่อทาการออกแบบและปรับปรุง จานวนรวม 10 หลัง รวมถึงการปรับปรุงพื้นที่ส่วนกลาง
ผลการศึกษาพบว่า ชุมชนคลองพลับพลามีผู้สูงอายุทั้งหมด 114 คน แบ่งเป็นผู้สูงอายุเพศชาย ร้อยละ
39.5 และผู้สูงอายุเพศหญิง ร้อยละ 60.5 สถานภาพของผู้สูงอายุชุมชนคลองพลับพลาส่วนใหญ่คือสมรส คิด
เป็นร้อยละ 57.9 ปัญหาที่พบสาหรับที่อยู่อาศัยได้แก่ความทรุดโทรมของที่อยู่อาศัย ห้องน้าไม่เอื้อต่อการใช้
งาน พื้นที่ใช้สอยภายในบ้านไม่เป็นระเบียบ และบันไดบ้านค่อนข้างชันและไม่มีราวจับ และปัญหาที่พบสาหรับ
พื้นที่ส่วนกลางได้แก่ ห้องน้าส่วนกลางผู้สูงอายุไม่สามารถเข้าใช้ได้
การปรับปรุงที่อยู่อาศัยสาหรับผู้สูงอายุ จานวน 10 หลัง พบว่ามีการปรับปรุงในส่วนการติดตั้งราวจับ
ในห้องน้า ทางเดินในบ้าน (คิดเป็น ร้อยละ 100) และเพิ่มเติมอุปกรณ์เครื่องช่วยในชีวิตประจาวัน เช่นเก้าอี้
อาบน้าภายในห้องน้า ไฟเปิด-ปิดอัตโนมัติ และมีบ้าน 2 หลัง ที่มีปัญหาเรื่องสมรรถนะร่างกาย ผู้วิจัยจึงได้เพิ่ม
กายอุปกรณ์ที่ทาจากวัสดุที่หาได้ง่าย และช่างชุมชนเป็นคนทาเพื่อก่อให้เกิดความยั่งยืนภายในชุมชน
การปรับปรุงพื้นที่ส่วนกลาง มีการดาเนินการดังนี้ ปรับปรุงลานกีฬากลาง โดยการสร้างห้องน้าคน
พิการเพิ่มเติมจานวน 1 ห้อง และปรับปรุงห้องน้าเดิม จัดทาทางลาดทางเข้า-ออก และเปลี่ยนพื้นสนามเด็ก
เล่น ให้เรียบเสมอกัน ปรับปรุงลานออกกาลังกาย โดยการสร้างสวนนั่งเล่นสาหรับผู้สูงอายุ สร้างต้นแบบสวน
ผักข้างชุมชน
ผลการประเมินพบว่าผู้สูงอายุและคนในชุมชนมีการใช้งานพื้นที่สาธารณะที่ได้รับการปรับปรุงมากขึ้น
และผู้สูงอายุพึงพอใจในการปรับปรุงที่อยู่อาศัยเป็นอย่างมาก เนื่องจากทาให้รู้สึกปลอดภัยและสะดวกสบายใน
การใช้ชีวิตประจาวันมากขึ้น สามารถทาสิ่งต่างๆ และเคลื่อนที่ได้ด้วยตนเองมากขึ้น
ข้อเสนอแนะในงานวิจัยครั้งนี้ คือควรมีมาตรการลดหย่อนภาษี ที่ปรับปรุงที่อยู่อาศัยและพื้นที่
สาธารณะสาหรับผู้สูงอายุ มีการจัดการอบรมช่างในชุมชน เหมาะสมกับคนชุมชน โดยใช้วัสดุที่หาได้ในท้องถิ่น
และส่งเสริมการสร้างนวัตกรรม กายอุปกรณ์หรืออุปกรณ์อื่น ๆ และยังสามารถผลิตใช้เองในชุมชนได้

Abstract

and participation between involved agencies for
creating processes planning. Furthermore, to create and promote motivation system
guidelines for various agencies, both public and private sectors. In addition, to create
substantial or standard design and to create knowledge in order to publicize knowledges
and practical guidelines for government officials, private sector and those who involved for
Design and construction of buildings planning, as well as physical and landscape
environments for the result of housing for all.
For the research process, the study area was selected is Klong Plubpla community
located in Wang Thong lang District which is the area of the Crown Property Bureau. Housing
of the elderly were selected and collected information as a sample. The goal is to design
and improve the total number of 10 houses, including 6 common areas.
The study indicated that Klong Plubpla community has 114 elderly, divided into 39.5
percent of male elderly and 60.5 percent of female elderly. 57.9 percent of them married. It
was found that 29 percent of the elderly live with their children at the most. 84 percent of
their own houses were pointed housing problems are the deterioration of housing,
unfavorable lavatory, unorganized living space and the house stairs without handrails are
quite steep causing fall accidents. Moreover, problems encountered for common areas are
unable to access lavatory for elderly, outdoor walk way in community has drain cover that
are damaged or opened as well as slippery exercise area where may cause danger.
The development of housing for ten elderly people showed improvement in the
installation of handrails in the lavatory and In-house walkway (100 percent) beside that daily
auxiliary equipment such as shower chairs in the bathroom, automatic on-off lights were
installed. There are 2 houses of elderly with physical issue therefore the researcher added
some mobility aids for them. These are made from available materials in community.
Community’s technicians were chosen to produce the mobility aids to create sustainability
for their community.
The development of common areas action as follows: In the central sports court one
additional disabled lavatory was built and the original lavatory was renovated, the entranceexit
ramp was built, and the playground surface was smoothened. For exercise area, the
leisurely garden for elderly and vegetable garden nearby the community as a model were
built. Community’s drain cover was repaired and changed to prevent accidents.
Suggestions in this research is should have a tax reduction measure for any
development of housing and public areas for the elderly. Technician’s training is provided
and suitable for people in the community by using local materials. Mobility aids or other
equipment innovation is stimulated for producing and using in the community.

แชร์

Facebook
Twitter
Email
พิมพ์
ให้คะแนน